2strelki.ru

ปัญหา วิจัย คือ: ปัญหาการวิจัย คือ หัวใจของกระบวนการวิจัย The Problem: The Heart Of The Research Process - Gotoknow

November 30, 2022, 10:50 pm
วิเคราะห์แนวโน้มของเหตุการณ์ที่จะเกิดขึ้น โดยพิจารณาว่าสังคมมีการ เปลี่ยนแปลงตามสภาพ เวลา และเทคนิควิทยาการต่างๆอาจทำให้เกิดปัญหาได้ 4. วิเคราะห์ปัญหาจากการสนทนา หรือปรึกษาหารือกับผู้เชี่ยวชาญในสาขาวิชานั้นๆ ในกรณีที่เป็น นักศึกษา อาจใช้วิธีปรึกษา ( เท่านั้น... อย่าไปถามว่าจะทำเรื่องอะไรดี! ) กับอาจารย์ที่ปรึกษาหรือ อาจารย์ผู้สอนในสาขาวิชานั้นๆ 5. ศึกษาปัญหาจากสถาบันต่างๆ หรือสถานที่ที่มีการวิจัย หรือบุคคลที่ทำการวิจัย โดยเข้าร่วม โครงการวิจัยนั้น ซึ่งจะช่วยให้เห็นแนวทางในการเลือกปัญหาได้ ข้อผิดพลาดในการเลือกหัวข้อปัญหาการวิจัย 1. รวบรวมข้อมูลก่อน ที่จะให้คำจำกัดความของหัวข้อปัญหาอย่างชัดเจน เพราะข้อมูลนั้นอาจ ไม่ครอบคลุมปัญหานั้นๆอย่างสมบูรณ์ 2. หาข้อมูลที่มีอยู่แล้ว และพยายามคิดปัญหาให้เหมาะสมกับข้อมูล เพราะข้อมูลที่เก็บมาจาก แหล่งใดแหล่งหนึ่งอาจไม่มีความสมบูรณ์ 3. ข้อ ปัญหาและความมุ่งหมาย ของการวิจัย ไม่ชัดเจน ทำให้ไม่ทราบแหล่งของการเก็บรวบรวม ข้อมูล เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ตลอดจนการสรุปผลหรือข้อยุติต่างๆ 4. ทำวิจัยโดย ไม่อ่านผลงานวิจัย ของบุคคลอื่น ที่คล้ายๆกัน ทำให้ผู้วิจัยมีความรู้แคบและอาจเกิด ความยุ่งยากในการแปลความหมายผลการวิเคราะห์ข้อมูลได้ 5.

ปัญหาการวิจัย คือ หัวใจของกระบวนการวิจัย The Problem: The Heart of the Research Process - GotoKnow

ปัญหาวิจัย (research problem) ข้อความ หรือคำถามที่นักวิจัย กำหนดเพื่อศึกษาหาวิธีแก้ไข คำถามวิจัย (research question) คำ ถามที่นักวิจัยกำหนดขึ้นเพื่อหาคำตอบ ซึ่งจะนำไปสู่วิธีการแก้ไขปัญหาวิจัย นิยมตั้งคำถามวิจัยว่า ความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรตั้งแต่สองตัวขึ้นไปมีลักษณะอย่างไร หลักเกณฑ์ของการกำหนดปัญหาวิจัย ปัญหาการวิจัยที่ดีควรจะเป็นอย่างไร แม้ว่าการเขียนปัญหาการวิจัยจะไม่มีหลักเกณฑ์ตายตัวที่แน่นอน แต่การตั้งปัญหาการวิจัยควรมีหลักเกณฑ์ที่นำพิจารณา 3 ประการ คือ 1. ปัญหาควรปรากฏในรูปของ "ความสัมพันธ์" ระหว่างตัวแปรสองตัว หรือเกินกว่าสองตัว เช่น A เกี่ยวข้องกับ B ไหม A และ B เกี่ยวข้องกับ C อย่างไร A เกี่ยวข้อง B โดยมีเงื่อนไข C และ D หรือไม่ 2. ปัญหาต้องกำหนดให้ชัดเจน ไม่กำกวม โดยกำหนดในรูป "คำถาม" การตั้งคำถามมีข้อดีทำให้สามารถสื่อให้เห็นปัญหาได้โดยตรง 3.

ทำวิจัยโดย ไม่มีความรู้พื้นฐาน ทางทฤษฎี หรือ ไม่มีทฤษฎีที่เป็นพื้นฐานทางการวิจัย จะก่อให้ เกิดปัญหาในการวางแผนงานวิจัย หรือ การตั้งสมมติฐาน และอื่นๆ 6. ข้อตกลงเบื้องต้นไม่ชัดเจน ทำให้การวิจัยนั้นไม่กระจ่างชัด และผู้ทำการวิจัยไม่เห็น แนวทาง ในการทำวิจัยนั้นอย่างทะลุปรุโปร่ง อาจเป็นผลให้การแปลผลการวิจัยผิดพลาดไปจากข้อเท็จจริงได้ 7. การวิจัยที่ มีปัญหาครอบจักรวาล ไม่จำกัดขอบเขต เป็นสาเหตุให้การทำวิจัยนั้นไม่รู้จักจบสิ้น เพราะไม่ทราบว่ามีขอบเขตแค่ใหน ( หาที่ลงไม่ได้) วิธีวิเคราะห์และเลือกหัวข้อปัญหาการวิจัย 1. ให้เลือกปัญหาที่ตนเอง มีความสนใจจริงๆ 2. สะสมความรู้ความจริงและทฤษฎีเกี่ยวกับเรื่องนั้นๆให้มากที่สุด 3. เลือกสรรความรู้ความจริงที่สะสมไว้ โดยพิจารณาที่เกี่ยวข้องจริงๆ 4. เขียนสมมติฐานการวิจัยให้ชัดเจน 5. เลือกสรรสมมติฐานที่จะมีข้อมูลมาทดสอบได้ 6. เลือกปัญหาที่ตนเอง มีความรู้พอจะทำได้ 7. เลือกปัญหาที่ตนเอง มีเครื่องมือที่จะทำวิจัยได้ 8. เลือกปัญหาการวิจัยโดยคำนึงถึง เงิน และ เวลา พอจะทำได้ 9. เลือกปัญหาที่มีความสำคัญพอเพียงที่จะได้รับอนุมัติให้ทำได้ 10. เลือกปัญหาที่ให้ความรู้ใหม่ ไม่ซ้ำซ้อนกับที่เคยทำโดยไม่จำเป็น 11.

ปัญหานั้นๆครอบคลุมและมีความสำคัญถูต้องตามระเบียบของสถาบันที่ท่านกำลังเรียน หรือทำงานหรือไม่ 8.

ปัญหาวิจัย (research problem) - Researcher Thailand

ตัวแปรที่เกี่ยวกับเวลา สถานที่ ชุมชน บุคคล องค์การ วิธีการบริหาร อาชีพ สถานการณ์ ฯลฯ มีความผันแปรตลอดเวลา ยากต่อการสรุปมากกว่าเรื่องของฟิสิกส์ เคมี หรือคณิตศาสตร์ 2. ปัญหาทางสังคมศาสตร์นั้น ไม่ได้คงที่แน่นอนตลอดเวลา 3. ปัญหา หรือ ข้อสรุปต่างๆทางสังคมศาสตร์ที่เคยศึกษามาแล้ว ต้องการ การตรวจสอบ เพื่อให้มีความทันสมัยอยู่เสมอ 4. การศึกษาที่ผ่านมาต้องมีการปรับปรุงแก้ไขเสมอ เพราะในช่วงเวลาที่แปรเปลี่ยนไป สถานการณ์เปลี่ยนไป ปัญหานั้นควรจะหยิบยกขึ้นมาพิจารณาใหม่ เนื่องจากตัวแปรใหม่มัก เกิดขึ้นอยู่เสมอ ด้วยเหตุนี้ นักวิจัย หรือ นักศึกษาปริญญาโทจึงไม่ควรคิดว่า ตนเองนั้นไม่มีปัญหาสำหรับทำวิจัย เพราะปัญหานั้นมีอยู่แล้วมากมาย แต่ท่านยังหาไม่พบ เท่านั้นเอง นักวิจัยอาจหาข้อปัญหาการวิจัยได้จากแหล่งต่อไปนี้ 1. วิเคราะห์ผลงานวิจัยที่คนอื่นเคยทำมาก่อนในเรื่องที่ตนเองสนใจ และกำลังศึกษาอยู่ พร้อมทั้ง วิพากษ์วิจารณ์และคิดอย่างพินิจพิเคราะห์ พยายามหาช่องว่าง หรือ ช่วงที่ขาดตอนสำหรับเรื่องนั้นๆ ที่เรายังไม่เข้าใจ หรือหาคำอธิบายเรื่องนั้นไม่ได้ ก็จะได้ปัญหาสำหรับการวิจัย 2. นำคำพูด ข้อเสนอแนะของผู้รู้ต่างๆ ตลอดจนเรื่องราวที่ถกเถียงหรือเป็น ข้อขัดแย้งที่ยังไม่ได้ ทำการทดลองด้วยวิธีการวิจัยมาเป็นปัญหาสำหรับการวิจัย 3.

เลือกหัวข้องานวิจัยที่เราชอบ เมื่อเราได้มีโอกาสคุยกับผู้เชี่ยวชาญต่างๆแล้ว สิ่งสำคัญต่อไป คือ เรา ต้องเลือกเรื่องที่เหมาะสมหรือเราอยากจะทำมากที่สุด เพราะเราต้องอยู่กับงานชิ้นนี้นาน ตัวเองจะรู้ดีที่สุดว่าจะทำมันได้ดีไหม 6.

ปัญหาวิจัย (research problem) - THESIS4U

ควรเป็นปัญหาที่ผู้วิจัยสนใจซึ่งมีลักษณะ ดังนี้ 1. 1 มีความอยากรู้ อยากเห็นอยากทราบคำตอบโดยไม่มีอคติ 1. 2 เป็นความสนใจที่เกิดจากแรงจูงใจภายนอกมากระตุ้น 1. 3 เป็นปัญหาที่แสดงความคิดริเริ่มของผู้วิจัยเอง 2. ควรเป็นปัญหาที่มีคุณค่า ซึ่งมีลักษณะ ดังนี้ 2. 1 ก่อให้เกิดความรู้ ความจริงใหม่ๆ ไม่ซ้ำซ้อนกับผู้อื่น 2. 2. ก่อใหเกิดสติปัญญาและพัฒนาความคิด 2. 3 นำไปแก้ไขปรับปรุงงานที่ทำอยู่ได้ 3. ควรคานึงถึงความสามารถของผู้วิจัยในประเด็นต่อไปนี้ 3. 1 มีความรู้ ความสามารถพอที่จะทำงานวิจัยเรื่องนั้น 3. 2 มีเวลา กำลังงาน และกำลังทรัพย์พอที่จะทำได้สำเร็จ 3. 3 สามารถเก็บข้อมูลได้อย่างเที่ยงตรงและมีประสิทธิภาพ 4. ควรคำนึงถึงสิ่งที่จะเอื้ออำนวยให้การวิจัยสำเร็จได้แก่ 4. 1 มีแหล่งวิชาการที่จะค้นคว้าได้สะดวกและเพียงพอ 4. 2 มีอุปกรณ์เครื่องมือ และเครื่องช่วยในการวิเคราะห์ข้อมูล 4. 3 ได้รับความสนับสนุนและร่วมมือจากผู้เกี่ยวข้องด้วยดี อ้างอิง (51)/

  1. รวมขั้นตอนการขอวีซ่าเที่ยวประเทศฝรั่งเศสและเอกสารที่ต้องเตรียมพร้อม
  2. Bohemian rhapsody แปลว่า
  3. ปัญหาวิจัย (research problem) - THESIS4U
  4. ปัญหาวิจัย (research problem) - Researcher Thailand
  5. เตา ไมโครเวฟ ราคา ตารางผ่อน
  6. การกำหนดปัญหางานวิจัย | Tsisthailand
  7. บทความ ต่าง ประเทศ พร้อม แปล
  8. โต๊ะ เหล็ก พับ แม็คโคร
  9. Scooter 2 ขา ภาษาอังกฤษ
  10. รพ.สมิติเวชศรีราชา ในเครือ BDMS มุ่งเน้นนโยบาย ‘ป้องกันสุขภาพเชิงรุก’ ตอกย้ำบทบาทผู้ริเริ่มบริการด้านสุขภาพ - The Business Plus

เลือกปัญหาที่เป็นประโยชน์ ทั้งในแง่การนำไปใช้ และเสริมความรู้ใหม่ 12. เลือกปัญหาที่จะชี้ช่องให้คนอื่นทำวิจัยต่อไปได้ ประเมินหัวข้อปัญหาการวิจัย ก่อนที่จะเสนอหัวข้อ ควรพิจารณาความเหมาะสมของปัญหานั้นเสียก่อน โดยการตั้งคำถาม คำถามที่ควรถาม คือ 1. สามารถแก้ปัญหานี้ได้ด้วยวิธีวิจัยหรือไม่ หาข้อมูลได้เพียงพอหรือไม่ 2. ปัญหามีความสำคัญพอหรือไม่ 3. ปัญหานั้นเป็นของใหม่หรือเปล่า ผลที่ได้จะเป็นประโยชน์หรือไม่ 4. ตนเองมีความสามารถจะวางแนวการศึกษาเรื่องนั้นหรือไม่ 5. มีเงินสำหรับดำเนินการเพียงพอหรือไม่ D. B. Van Dalen เสนอแนะหลักในการพิจารณาว่าปัญหาใด ควร หรือ ไม่ควร จะวิจัย โดยตั้งคำถามตนเอง ดังนี้ 1. เป็นปัญหาที่ตนเองหวังไว้ และตรงกับความหวังของคนทั่วไปหรือไม่ 2. ตนเองสนใจปัญหานั้นอย่างแท้จริงหรือไม่ 3. ตนเองมีทักษะ มัความรู้ความสามารถ และพื้นความรู้เดิมพอเพียงจะศึกษาวิจัยเรื่องนั้น ได้หรือไม่ 4. ตนเองมีเครื่องมือ แบบทดสอบ ห้องทดลอง และอุปกรณ์อื่นๆ ที่จะใช้ดำเนินการวิจัยเรื่องนั้นๆหรือไม่ ถ้าไม่มีตนเองมีความรู้ที่จะสร้างเองได้หรือไม่ 5. ตนเองมีเวลาและเงินที่จะทำได้สำเร็จหรือไม่ 6. ตนเองจะไปรวบรวมข้อมูลได้หรือไม่ มีข้อมูลให้รวบรวมแค่ใหน 7.