2strelki.ru

ถั่ว ลันเตา สรรพคุณ – ถั่วลันเตา สรรพคุณ สารอาหารที่เป็นประโยชน์ - Moomall มูมอล

December 8, 2022, 7:26 pm
บำรุงสุขภาพหัวใจ ถั่วลันเต้าไม่ได้มีดีแค่ช่วยลดระดับคอเลสเตอรอลและช่วยป้องกันไม่ให้หลือดเลือดอุดตันได้แต่เพียงเท่านั้นนะคะ แต่เนื่องจากในถั่วลันเตาก็มีลูทีนและไฟเบอร์ที่จะช่วยลดอัตราการเกิดโรคหลอดเลือดแดงแข็งได้ ซึ่งมันจะเข้าไปทำหน้าที่ป้องกันไม่ให้คราบพลักก่อตัวขึ้นภายในผนังหลอดเลือดแดงนั่นเอง นอกจากนี้ สารต่างๆ อย่างไธอะมีน ไรโบฟลาวิน โฟเลต ไนอะซินและวิตามินบี 6 ยังมีคุณสมบัติช่วยลดระดับของโฮโมซีสเตอีน (Homocysteine) ซึ่งเป็นปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจลดลงอีกด้วย 8. บำรุงกระดูกให้แข็งแรง วิตามินเค คือวิตามินที่ดีต่อการเสริมสร้างกระดูกให้แข็งแรง ซึ่งถั่วลันเตานั้นก็มีวิตามินเคสูงทีเดียว โดยถั่วลันเตา 1 ถ้วยให้ปริมาณของวิตามินเคมากถึง 44% ของปริมาณที่ร่างกายควรได้รับต่อวัน รับรองค่ะว่าหากรับประทานถั่วลันเตาเป็นประจำ วิตามินเคจะเข้าไปช่วยบำรุงกระดูกให้แข็งแรงขึ้นได้ เพราะมันจะช่วยให้กระดูกสามารถสะสมแคลเซียมได้สูงยิ่งขึ้น นอกจากนี้แล้ว ยังมีวิตามินบีที่เปี่ยมสรรพคุณในการช่วยป้องกันโรคกระดูกพรุนได้เป็นอย่างดี 9. ป้องกันโรคมะเร็งภายในช่องท้อง เนื่องจากมีผลการศึกษาจากในประเทศเม็กซิโกได้ค้นพบว่า การทานถั่วลันเตาเป็นประจำทุกวันจะช่วยลดโอกาสเสี่ยงต่อการเกิดโรคมะเร็งภายในช่องท้องได้ ทั้งนี้เพราะถั่วลันเตามีสารต้านอนุมูลอิสระที่ชื่อ คูเมสทรอล (Coumestrol) ซึ่งมีสารชนิดนี้ในปริมาณสูงถึง 10 มิลลิกรัมต่อปริมาณถั่วลันเตา 1 ถ้วย สำหรับสารต้านอนุมูลอิสระชนิดดังกล่าวจะช่วยป้องกันการเกิดออกซิเดชั่นที่ก่อให้เกิดความอับเสบ และยังมีประสิทธิภาพในการยับยั้งการก่อตัวของเซลล์โรคมะเร็งได้เป็นอย่างดี 10.

ถั่วลันเตา ประโยชน์และสรรพคุณ มีคุณค่ามากกว่าที่คุณคิด

/ไร่ ใส่ในที่ถั่วลันเตาเริ่มออกดอก โดยโรย ปุ๋ยตามแนวยาวของแถวทั้ง 2 ข้าง ระยะห่างจากโคนต้น 8-10 เซนติเมตร พร้อมพรวน ดินกลบปุ๋ย และรดน้ำตาม การพรวนดิน และกำจัดวัชพืช การพรวนดิน และกำจัดวัชพืช ควรทำทุกๆ 2 อาทิตย์ จนต้นถั่วสูงได้ 30-50 ซม. แล้วจึงหยุด วึ่งช่วงนี้ต้นถั่วจะสามารถแข่งเติบโตกับวัชพืชอื่นได้ดีแล้ว การเก็บเกี่ยว อายุการเก็บเกี่ยวของถั่วลันเตามีความแตกต่างกันทั้งนี้ขึ้นอยู่กับพันธุ์ โดยทั่วไปจะใช้เกณ์ ดังนี้ – อายุการเก็บเกี่ยวตั้งแต่ 60-90 วัน หลังปลูก – อายุการเก็บเกี่ยวจากจำนวนวันหลังดอกบาน 5-7 วัน – ระยะการเก็บเกี่ยวจากความหนาของฝัก พันธุ์ฝักเล็ก หนา 0. 44-0. 68 เซนติเมตร พันธุ์ฝักใหญ่ หนา 0. 53-0. 64 เซนติเมตร – ลักษณะฝักอวบ สีเขียวอ่อน เปราะกรอบ ไม่เหนียว การเก็บฝักอ่อนถั่วลันเตา ควรเก็บเกี่ยวฝักสดวันเว้นวัน โดยทั่วไปมีระยะเวลาการเก็บเกี่ยวนาน 30-60 วัน ซึ่งต้องเก็บในระยะฝักอ่อนที่เต็มไปด้วยน้ำตาล หากฝักแก่ น้ำตาลจะถูกเปลี่ยนเป็นแป้งทำให้ความหวานลดลง และมีเส้นใย และความเหนียวมากขึ้น (ชำนาญ, 2548) (3) โรคและแมลง 1. โรคราแป้ง เป็นโรคที่เกิดจากเชื้อรา Uromyces fabae Pers เกิดได้ในทุกระยะ และเกิดกับทุกส่วนของพืช พบมากบริเวณใบ มีอาการที่พบ คือ มีจุดสีขาวกระจายทั่วในส่วนต่างๆ ต่อมามีการสร้างเส้นใย และสปอร์สีขาว มองเห็นคล้ายแป้งฝุ่นขึ้นมากมาย หากเกิดที่ใบ ใบจะเหลืองซีดมีสีน้ำตาลทำให้สังเคราะห์แสงไม่ได้ ทำให้ลำต้นถั่วแคระแกร็น ออกดอก และติดฝักน้อย หรือหากเกิดมากลำต้นจะเหี่ยวตาย • การป้องกันกำจัด – แช่เมล็ดก่อนปลูก ด้วยไตรโฟลีนละลายน้ำที่ 20 มก.

3 กรัม – โปรตีน: 4. 3 กรัม – ไขมัน: 0. 1 กรัม – คาร์โบไฮเดรต: 8. 5 กรัม – แคลเซียม: 171 มิลลิกรัม – ฟอสฟอรัส: 115 มิลลิกรัม – เหล็ก: 1. 5 มิลลิกรัม – วิตามินบี 1: 0. 11 มิลลิกรัม – วิตามินบี 2: 0. 09 มิลลิกรัม – ไนอาซีน: 1. 4 มิลลิกรัม – วิตามินซี: 23 มิลลิกรัม – เบต้าแคโรทีน: 11. 8 ไมโครกรัม ที่มา: กองโภชนาการ กรมอนามัย, 2535 การปลูกถั่วลันเตา ถั่วลันเตาสามารถเติบโต และทนต่อสภาพดินทุกชนิดได้ดี แต่ชอบดินร่วนปนดินเหนียว การระบายน้ำดี เป็นกรดเล็กน้อย ระดับ pH 5. 5-6.

ถั่วลันเตา เป็นพืชตระกูลถั่วสีเขียว มีรสชาติหวาน กรอบ และอร่อย | HD สุขภาพดี เริ่มต้นที่นี่

  • สำนักงานคณะกรรมการการเลือกตั้ง เปิดรับสมัครสอบบรรจุเป็นพนักงาน 215 อัตรา
  • ถั่วลันเตา » สมุนไพรไทย เป็นพรรณไม้เลื้อย อยู่ในจำพวกถั่ว
  • ถั่วลันเตา สรรพคุณมีอะไรบ้าง ทำอะไรกินได้บ้าง แคลอรีเยอะแค่ไหน
  • ภ งด 50 51

ประโยชน์ของถั่ว 12 ชนิด ของทานเล่น ๆ แต่ประโยชน์เพียบบบ ! - my home

เป็นแหล่งสารต้านอนุมูลอิสระ อย่างที่เราทราบกันดีอยู่แล้วว่า สารต้านอนุมูลอิสระมีความสำคัญต่อสุขภาพร่างกายเราอย่างไรบ้าง ซึ่งถั่วลันเตาก็เป็นแหล่งอาหารที่อุดมด้วยสารต้านอนุมูลอิสระสูง ไม่ว่าจะเป็นสารฟลาโวนอยด์ แคโรทีนอยด์ กรดฟีโนลิกและโพลีฟีนอล โดยจะช่วยป้องกันเซลล์ไม่ให้ถูกทำลายจนได้รับความเสียหาย และยังช่วยลดการอักเสบซึ่งเป็นสาเหตุของการเกิดโรคต่างๆ เช่น โรคมะเร็ง โรคหัวใจ อัลไซเมอร์และช่วยชะลอการเกิดริ้วรอยก่อนวัย นอกจากนี้ ยังเป็นแหล่งของวิตามินซี อีและสังกะสีอีกด้วย 2. ลดคอเลสเตอรอล ถั่วลันเตาเป็นผักที่มีไนอะซิน (Niacin) โดยสารอาหารดังกล่าวมีส่วนสำคัญต่อการช่วยลดการสร้างไขมันไตรกลีเซอไรด์และไขมัน VLDL ซึ่งไขมันชนิดนี้ถูกสร้างขึ้นมาเพื่อทำหน้าที่ในการลำเลียงไตรกลีเซอไรด์จากตับไปสู่อวัยวะต่างๆ โดยจะส่งผลทำให้ระดับคอเลสเตอรอลชนิดไม่ดี (LDL) และไตรกลีเซอไรด์ลดน้อยลง ขณะเดียวกัน มันยังช่วยเพิ่มคอเลสเตอรอลชนิดที่ดี (HDL) ให้เพิ่มระดับขึ้นได้อีกด้วย จึงสามารถช่วยลดความเสี่ยงในการเป็นโรคหลอดเลือดอุดตันขึ้นได้ 3. ลดน้ำหนัก การกินอาหารลดน้ำหนักนั้น ไม่ใช่เรื่องยาก เพราะหลักๆ เราจะต้องเลือกกินผักที่ให้เส้นใยและโปรตีนสูง และถั่วลันเตาก็เป็นอาหารจากธรรมชาติที่อุดมไปด้วยโปรตีนปริมาณสูง มีไฟเบอร์ที่จะทำให้อิ่มนานขึ้น ช่วยลดอาการหิวจุบจิบในระหว่างวันได้เป็นอย่างดี อีกทั้งยังมีไขมันต่ำ จึงเหมาะยิ่งนักสำหรับคนที่อยู่ในช่วงลดน้ำหนัก 4.
love lesson ดู

ถั่วลันเตา สรรพคุณ

ประโยชน์ของถั่วลันเตา คุณค่าทางโภชนาการ สรรพคุณ ตัวอย่างเมนูน่ากินจากถั่วลันเตา และข้อควรระวัง เผยแพร่ครั้งแรก 6 พ. ค. 2019 อัปเดตล่าสุด 17 พ. ย. 2020 ตรวจสอบความถูกต้อง 20 ส. 2019 เวลาอ่านประมาณ 3 นาที ถั่วลันเตา เป็นพืชตระกูลถั่วสีเขียว มีรสชาติหวาน กรอบ และอร่อย จึงนิยมนำมาประกอบอาหารอย่างหลากหลายทั่วโลก นอกจากรับประทานง่ายแล้ว ถั่วลันเตายังมีประโยชน์มากมายต่อสุขภาพ ดังนี้ แพ็กเกจที่คุณอาจสนใจ สั่งยา ปรึกษาข้อมูลเบื้องต้น จากร้านยาใกล้บ้านคุณได้ง่ายๆ เริ่มจากแชทกับเภสัชกรที่มีใบอนุญาตผ่านแอปของเรา ฟรี! บริการทุกวันตั้งแต่ 9 โมงเช้า ถึง 3 ทุ่ม กด ทำความรู้จักถั่วลันเตา ถั่วลันเตา (Peas) หรือถั่วหวาน มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Pisum sativum มีถิ่นกำเนิดจากแถวเอเชียตอนกลาง สามารถแบ่งออกได้เป็น 2 สายพันธุ์ คือ สายพันธุ์ฝักเหนียวและแข็ง เมล็ดโต นิยมปลูก เพื่อทานเมล็ด ภายในฝักจะมีเมล็ดขนาดใหญ่ 3-8 เมล็ด และสายพันธุ์ปลูกเพื่อรับประทานฝักสด โดยฝักจะมีขนาดใหญ่ มีปีก ฝักแบน คุณค่าทางโภชนาการของถั่วลันเตา ถั่วลันเตา 100 กรัม มีพลังงาน 84 กิโลแคลอรี และมีคุณค่าทางโภชนาการดังนี้ คาร์โบไฮเดรต 15. 6กรัม น้ำตาล 5.

ว. ลำปาง เมล็ดพันธุ์ จะเริ่มมีจำหน่าย ประมาณเดือน เม. ย. ของทุกปี ถั่วลันเตาชนิดกินฝักสดพันธุ์ส่งเสริมทั้ง 3 พันธุ์ มีคุณสมบัติดังนี้ พันธุ์ฟาง-7 เป็นพันธุ์ฝักใหญ่ ดอกสีม่วงมีคุณสมบัติที่ดีคือ 1. เจริญเติบโตเร็ว ออกดอกเมื่ออายุประมาณ 45-55 วัน (ถ้าอากาศหนาวจัดจะออกดอกช้ากว่าปกติ) 2. ฝักหนา หวานกรอบ และไม่มีใย 3. ขนาดฝักโดยเฉลี่ยยาว 10-12 ซม. กว้าง 25 ซม. 4. ฝักดก ผลผลิตสูง 5. ต้านทานต่อโรคราสนิม พันธุ์เอ็ม. เจ. 12 เป็นพันธุ์ฝักเล็ก ดอกขาวมีคุณสมบัติที่ดี คือ 1. ให้ผลผลิตเร็ว ออกดอกเมื่ออายุ 30-40 วัน (ถ้าอากาศหนาวจัดจะออกดอกช้ากว่าปกติ 2. ต้นสูงประมาณ 1. 2 ม. 3. มีกิ่งแขนงมากประมาณต้นละ 9 กิ่ง 4. ฝักสีเขียวจาง หวานกรอบ ไม่มีเส้นใย 5. ฝักมีขนาดโดยเฉลี่ยยาว 5. 7 ซม. กว้าง 1. 2 ซม. แต่ละฝักมีเมล็ด 2-3 เมล็ด 6. ออกฝักคู่ หรือมีฝักซ้อนละ 2 ฝัก มีฝักดกต้นหนึ่งจะมีฝักโดยเฉลี่ยประมาณ 98 ฝัก 7. ทนทานต่อโรคราสนิม โรคราแป้ง โรคราโคนเน่าเหลือง 8. ปลูกได้ทั่วประเทศ พันธุ์ เอม. 55 ฝักเล็ก ดอกขาว มีคุณสมบัติที่ดี คือ 1. ให้ผลผลิตเร็ว ออกดอกหลังจากการปลูกประมาณ 35-50 ซม. (ถ้าอากาศเย็นจัดจะออกดอกช้ากว่าปกติ) 2.

ประโยชน์และสรรพคุณจากถั่วลันเตาและต้นอ่อนถั่วลันเตา - Mixmaya.Com

แก้ปัญหาท้องผูก ผักทุกชนิดล้วนเป็นแหล่งของไฟเบอร์ด้วยกันทั้งนั้น ซึ่งเจ้าถั่วลันเตานี้ก็มีไฟเบอร์สูงที่จะช่วยกระตุ้นระบบขับถ่ายให้ทำงานดีขึ้น และยังทำให้ระบบการทำงานของลำไส้เป็นไปอย่างปกติอีกด้วย บอกเลยค่ะว่าใครที่มีปัญหาท้องผูกบ่อยๆ กินถั่วลันเตาแล้วอาการต้องดีขึ้นแน่นอน 5. ควบคุมระดับน้ำตาลในเลือด อาหารที่มีไฟเบอร์ก็นับเป็นอีกตัวช่วยหนึ่งที่จะทำให้อาการของโรคเบาหวานลดความรุนแรงลงได้ และในถั่วลันเตาก็เป็นแหล่งของไฟเบอร์อย่างที่ไม่ทำให้ต้องผิดหวัง เพราะไฟเบอร์จะทำให้น้ำตาลถูกย่อยช้าขึ้น ทำให้การดูดซึมน้ำตาลเป็นไปอย่างช้าลง ส่งผลให้ระดับน้ำตาลในเลือดไม่เกิดการผกผันอย่างรวดเร็ว นอกจากนี้ สารต้านอนุมูลอิสระที่พบจากในถั่วลันเตาก็ยังมีบทบาทในการป้องกันภาวะดื้ออินซูลิน อันเป็นสาเหตุในการเกิดโรคเบาหวานชนิดที่ 2 และถึงแม้ในถั่วลันเตาจะมีน้ำตาล หากก็เป็นน้ำตาลที่ดีต่อสุขภาพอย่างยิ่งเช่นกัน รับรองค่ะว่าไม่ทำลายสุขภาพผู้ป่วยเบาหวานอย่างแน่นอน 6. บำรุงสายตา โดยปกติแล้ว เราต่างก็ทราบกันดีว่าวิตามินเอคือ สารอาหารที่จะช่วยบำรุงสายตาได้เป็นอย่างดี และในถั่วลันเตาก็มีวิตามินดังกล่าวอยู่ไม่น้อยเลยทีเดียว ซึ่งถั่วลันเตาปริมาณ 1/2 ถ้วย มีวิตามินเอสูงถึง 32% ของปริมาณที่ร่างกายเราควรได้รับต่อวัน อีกทั้งยังมีลูทีน (Lutein) สารสำคัญที่มีคุณสมบัติในการต่อต้านอนุมูลอิสระ จึงช่วยปกป้องดวงตาจากการเกิดภาวะต้อกระจกและป้องกันไม่ให้จอประสาทตาเสื่อม ทำให้ดวงตาของเราสุขภาพดีนั่นเอง 7.

ลำต้น ถั่วลันเตามีลำต้นเป็นเถาเลื้อย ที่มีลำต้นหลัก และแตกกิ่งสาขาตามข้อของลำต้น ลำต้นหลักสามารถยาวได้มากกว่า 2 เมตร 2. ใบ ใบถั่วลันเตาเป็นใบประกอบ มีก้านใบหลักแทงออกบริเวณข้อของลำต้น ประกอบด้วยหูใบ 1 คู่ มีลักษณะเรียบหรือหยักลึก โดยมีใบย่อยออกเป็นคู่ๆ ตรงข้ามกัน ใบมีสีเขียว โคนใบสอบ ปลายใบแหลม ผิวใบเรียบ มีขนขนาดเล็ก มีเส้นใบชัดเจน 3.

การปลูกถั่วลันเตา

5 เซนติเมตร พร้อมโรยด้วยปุ๋ยเคมีสูตร 15-15-15 อัตรา 30 กก. /ไร่ การหยอดเมล็ดจะใช้เมล็ดหลุมละ 3-4 เมล็ด ระยะห่างระหว่างหลุมประมาณ 30 เซนติเมตร กลบด้วยหน้าดิน และคลุมด้วยฟางหรือหญ้าแห้ง แล้วรดน้ำให้ชุ่ม หลังจากปลูก 3-5 วัน เมล็ดถั่วลันเตาจะเริ่มงอก เมื่อต้นอ่อนมีใบจริง 3-5 ใบ หรือสูงประมาณ 8-10 เซนติเมตร ให้ถอนต้นที่ไม่สมบูรณ์ทิ้ง โดยให้เหลือเพียงหลุมละ 2 ต้น หรือหากเป็นการหยอดแบบไม่เป็นหลุมให้ถอนเหลือต้นเดียวตามระยะที่เหมาะสม การทำค้าง เมื่อต้นถั่วมีอายุ 15-20 วัน หรือสูง 15-20 เซนติเมตร ถั่วจะเริ่มมีมือเกาะ วึ่งระยะนี้ต้องทำค้างให้ถั่วเกาะ โดยใช้ไม่ไผ่ ขนาด 2 นิ้ว ยาว 1. 5 – 2 เมตร ปักระหว่างหลุม ระยะห่าง 2-3 เมตร แล้วรัดโยงด้วยเชือกหรือลวดเป็นชั้นๆ 4-6 ชั้น และอาจรัดโยงในแนวดิ่งด้วยก็ได้ การให้น้ำ การให้น้ำจะให้เพียงวันละ 1 ครั้ง ในระยะ 1-2 เดือนแรก และค่อยลดเป็น 2-3/ครั้ง ขึ้นอยู่กับสภาพอากาศ และความชื้นในดิน แต่ละครั้งที่ให้น้ำควรให้เพียงหน้าดินชุ่ม ไม่ควรให้น้ำมากจนดินแฉะ อาจให้โดยวิธีปล่อยน้ำไหลตามร่อง แต่จะเปลืองน้ำหรือแบบสปริงเกอร์ การใส่ปุ๋ย ปุ๋ยที่ใส่ คือ สูตร 15-15-15 ในอัตรา 30 กก.

ถั่วลันเตา สรรพคุณ

29 กรัม น้ำตาล 2. 1 กรัม ใยอาหาร 15. 2 กรัม ไขมัน 1. 06 กรัม โปรตีน 22.