2strelki.ru

Buyer Persona คือ - จีบลูกค้าให้ติดด้วย Target Persona | Techsauce

December 6, 2022, 3:22 pm

วิธีวิเคราะห์กลยุทธ์การตลาดของคู่แข่งก็ทำได้ง่ายๆ โดยที่คุณสามารถเลือกแบรนด์ที่เป็นคู่แข่งของคุณประมาณ 2-4 แบรนด์ และสังเกตองค์ประกอบแบรนด์ต่างๆของคู่แข่ง รวมไปถึงการสื่อสารออกไปยังผู้บรโภคที่ไม่ว่าจะเป็นโฆษณาหรือแคมเปญต่างๆ และตอบคำถามเหล่านี้ให้ได้ คู่แข่งของคุณมีความสม่ำเสมอในการรักษาภาพจำของแบรนด์ไว้ในหลายๆช่องทางการสื่อสารหรือไม่? อะไรคือคุณสมบัติเด่นในสินค้าหรือบริการของคู่แข่ง? คู่แข่งได้มีการถูกพูดถึงจากลูกค้าหรือไม่? คู่แข่งมีการสื่อสารผ่านช่องทางไหนบ้าง? ออนไลน์หรือออฟไลน์? 3. กำหนดกลุ่มเป้าหมายให้ชัด สิ่งที่สำคัญอีกสิ่งหนึ่งในการ สร้าง แบรนด์ก็คือการกำหนดให้ชัดเจนว่าใครคือกลุ่มเป้าหมายของเรา เพราะแบรนด์ก็คือตัวตนของเราที่จะสื่อสารไปยังผู้ที่จะซื้อสินค้าบริการของเรา ยิ่งเราสามารถสร้างตัวตนของแบรนด์ได้ถูกจริต หรือเหมาะสมกับผู้บริโภค ธุรกิจของคุณก็จะยิ่งเป็นที่โดดเด่นในตลาดกว่าคู่แข่งยังไงล่ะ! ซึ่งการกำหนดกลุ่มเป้าหมายก็สามารถทำได้โดยการสร้างตัวตนของคน 1 คนขึ้นมาโดยสมมติว่าคนคนนี้จะเป็นกลุ่มเป้าหมายของเรา หรือที่เรียกว่า Buyer Persona ค่า และข้อมูลที่เราจะใช้ในการทำ Buyer Persona ก็คือ ช่วงอายุ เพศ ที่อยู่อาศัย รายได้ การศึกษา ไลฟ์สไตล์ แรงจูงใจในการซื้อสินค้า ปัญหาที่สินค้าหรือบริการจะช่วยแก้ปัญหาให้ ผู้มีอิทธิพล ยิ่งคุณสร้างตัวตนของ Buyer Persona ได้ชัดเจนเท่าไหร่การ สร้าง แบรนด์ ของคุณก็จะยิ่งชัดเจนขึ้นเท่านั้น และธุรกิจของคุณก็จะโดดเด่นและเป็นที่นิยมในตลาดนะคะ 4.

How to สร้าง Persona เพื่อรู้จักตัวตนของลูกค้าใน 4 ขั้นตอน - ICDL DMC

1. กำหนดเป้าหมายให้ชัดเจน! เป้าหมายเป็นสิ่งสำคัญที่สุดไม่ว่าจะลงมีทำอะไรก็ตาม ไม่ว่าแบรนด์ไหนๆที่ประสบความสำเร็จก็ต้องมีการวางเป้าหมายที่ชัดเจนไว้ทั้งนั้น เพราะฉะนั้นถ้าต้องการ สร้าง แบรนด์ ให้โดดเด่น คุณก็ควรจะกำหนดเป้าหมายของแบรนด์ของคุณให้ชัดเจนเหมือนกัน วิธีที่จะกำหนดเป้าหมายให้กับการ สร้าง แบรนด์ ของคุณก็คือต้องตอบคำถามง่ายๆตามนี้ให้ได้ ทำไมถึงเลือกทำธุรกิจนี้? อะไรทำให้คุณแตกต่างจากคู่แข่ง? ธุรกิจของคุณจะช่วยลูกค้าของคุณได้ยังไง? ทำไมคนถึงจะต้องเลือกใช้ธุรกิจของคุณ? หลังจากที่ตอบคำถามพวกนี้ได้ คุณก็จะสามารถเริ่มสร้างองค์ประกอบต่างๆของแบรนด์ของคุณ ไม่ว่าจะเป็น โลโก้ สโลแกน ภาพลักษณ์ และเรื่องราวของแบรนด์ได้แล้วค่ะ ทราบมั้ยคะว่า ผู้บริโภคกว่า 50% เลือกที่จะซื้อสินค้าจากคุณค่าของแบรนด์มากกว่าปัจจัยอื่นๆอีกนะ! 2. ศึกษาจากคู่แข่ง ลองดูทิศทางการทำการตลาดจากคู่แข่งของคุณดูสิ ว่าเค้ามีกลยุทธ์อะไรในการทำการสื่อสารไปยังกลุ่มเป้าหมาย แต่ที่บอกว่าศึกษาในที่นี้ไม่ใช้การไปลอกเลียนแบบเค้านะ! แต่ให้ศึกษาจุดอ่อนจุดแข็งของแบรนด์คู่แข่ง หรือที่เรียกว่า SWOT นั่นเอง เพื่อที่จะดูว่าคู่แข่งเราทำอะไรได้ดี และทำได้ไม่ดี เพื่อจะได้เอาชนะจุดอ่อนของคู่แข่ง และสร้างความแตกต่างให้กลุ่มเป้าหมายเห็นว่าแบรนด์ของคุณมีดีกว่าคู่แข่งยังไงนั่นเอง!

Buyer Persona คืออะไร? - Enabler Space

ปัจจุบัน ผู้บริโภคกว่า 89% เริ่มต้นกระบวนการซื้อสินค้าหรือบริการด้วยการค้นหาผ่านโปรแกรมค้นหาหรือ Search Engine (เช่น กูเกิ้ล) ซึ่งแสดงให้เห็นได้ว่าลูกค้าของธุรกิจส่วนใหญ่ต่างอยู่บนโลกออนไลน์ แล้วจะทำอย่างไรเพื่อดึงดูดคนเหล่านั้นเข้ามาหาคุณกันล่ะ? การทำ Inbound Marketing และการ สร้าง Persona จึงมีความสำคัญอย่างยิ่งเมื่อผู้บริโภคมีพฤติกรรมที่เปลี่ยนแปลงไปในลักษณะเช่นนี้ Persona = เครื่องมือที่ช่วยให้เรามองเห็น และสามารถจับคู่ Value Proposition (คุณค่าที่ต้องการส่งมอบให้กับลูกค้า) ให้แมทช์กับ Problem (ปัญหาของลูกค้า) ได้อย่างลงตัวและมีประสิทธิภาพ ผ่านการสื่อสารเป็นภาษาเดียวกันกับลูกค้า Persona ในโลก Digital Marketing คืออะไรกันแน่?

7 วิธีการ สร้าง แบรนด์ง่ายๆ ที่จะทำให้ธุรกิจออนไลน์ของคุณปังกว่าเดิม!

จีบลูกค้าให้ติดด้วย Target Persona | Techsauce

  1. รูป การ์ตูน กระเป๋า
  2. Persona คืออะไร วิธีทำ และตัวอย่าง Persona [ดาวน์โหลดเทมเพลต] | เทมเพลต, การศึกษา, อาชีพ
  3. ร ร best western restaurant
  4. เข้าใจลูกค้าของคุณง่ายๆ ด้วย Buyer Persona - PeerPower

เข้าใจลูกค้าของคุณง่ายๆ ด้วย Buyer Persona - PeerPower

สร้างเรื่องราวให้กับแบรนด์ การสร้างเรื่องราวให้แบรนด์ เป็นสิ่งที่จะสร้างความน่าสนใจให้กับแบรนด์และจะทำให้การ สร้าง แบรนด์ ชัดเจนมากขึ้น รวมไปถึงการสื่อสารผ่านช่องทางต่างๆก็จะยิ่งง่ายขึ้น โดยที่คุณจะต้องบอกให้ได้ว่า แบรนด์ของคุณคืออะไร? คุณจะนำเสนออะไรแก่กลุ่มเป้าหมาย? และทำไมคนถึงจะต้องสนใจแบรนด์ของคุณ? เรื่องราวของแบรนด์จะเป็นตัวช่วยที่ดี ที่จะทำให้ผู้บริโภครู้สึกเชื่อมต่อกับแบรนด์ โดยที่คุญสามารถหยิบเอา Pain point ของกลุ่มเป้าหมายมาเล่าเป็นเรื่องราวของแบรนด์ เพื่อให้ลูกค้าเกิดความรู้สึกผูกพันกับแบรนด์ ซึ่ง Shoplus ขอแนะนำว่า คุณควรที่จะเล่าเรื่องราวว่าธุรกิจของคุณจะสำคัญอย่างไรกับกลุ่มเป้าหมาย มากกว่าที่จะบอกว่าธุรกิจของคุณมีข้อดีอย่างไรนั่นเองค่ะ 5. ให้ตัวตนของแบรนด์ของคุณโดดเด่น ถ้าธุรกิจของคุณมีคู่แข่งที่หลากหลายในตลาดอยู่แล้ว การที่คุณไม่แตกต่างจากคู่แข่ง ก็คงไม่แปลกที่ลูกค้าจะไม่เลือกใช้ธุรกิจของคุณ จริงมั้ย? เพราะฉะนั้นการสร้างประสบการณ์ให้ลูกค้าของคุณรู้สึกแตกต่างจากการใช้บริการของคู่แข่งเจ้าอื่นๆ ก็จะทำให้การ สร้าง แบรนด์ ของคุณประสบความสำเร็จ ถ้าคุณอยากจะให้ตัวตนของแบรนด์ของคุณโดดเด่นกว่าทุกเจ้าในตลาด สิ่งที่คำคัญเลยคือคุณจะต้องมีการสื่อสารที่เสมอต้นเสมอปลาย นั่นหมายความว่าตัวตนของแบรนด์ของคุณในวันแรกที่มีการสื่อสารไปยังผู้บริโภคจนกว่าการสิ้นสุดการสื่อสาร จะต้องมีคงไว้ซึ่งเอกลักษณ์เฉพาะตัว ไม่เปลี่ยนแปลงเรื่อยๆนะคะ 6.

Persona คืออะไร วิธีทำ และตัวอย่าง Persona [ดาวน์โหลดเทมเพลต] | เทมเพลต, การศึกษา, อาชีพ

เห็นหัวข้อถามกันง่าย ๆ ตรง ๆ แบบนี้ แต่คำตอบที่ได้จากบทความนี้อาจไม่ง่ายและตรงเหมือนคำถาม เอาเป็นว่าถ้าคุณเป็นคนหนึ่งที่ทำงานอยู่ในวงการการตลาดดิจิทัล ก็จะต้องเจอกับข้อมูลเรื่อง Lead, Engagement และแคมเปญต่าง ๆ ชนิดท่วมท้นจนสับสนกันไปข้างหนึ่ง Buyer persona (หรือ Customer Persona) จะเข้ามามีบทบาทตอนนี้แหละครับ รู้จักกับ Buyer Persona ฉบับสังเขป Buyer persona คือสิ่งที่ช่วยให้เหล่านักการตลาด ดิจิทัลตั้งโฟกัสอยู่กับความต้องการของกลุ่มเป้าหมายได้ดีขึ้น ช่วยยังไง? Neil Patel เคยให้คำตอบไว้ว่า "Buyer Persona คือตัวแทนที่แสดงถึงความชอบส่วนบุคคล และพฤติกรรมของกลุ่มลูกค้าที่เป็นเป้าหมายของเราในเลือกซื้อสินค้า ในการมีปฏิสัมพันธ์กับกิจการออนไลน์ของเรา" ซึ่งสิ่งนี้จะได้มาจากการวิจัยตลาดจริง ๆ ข้อมูลจริง ๆ และการคาดการณ์จากข้อมูลลูกค้าปัจจุบัน โดยในการสร้าง Persona จะมีความเกี่ยวข้องกับกลุ่มประชากร กลุ่มคนที่จะเป็นลูกค้าของเราเป็นใคร, มีรูปแบบพฤติกรรม, แรงจูงใจ หรือแม้แต่เป้าหมายอะไรบ้าง ซึ่งข้อมูลพวกนี้ ยิ่งเรารวบรวมได้เยอะ และละเอียดมากเท่าไหร่ก็ยิ่งดีครับ ทำไมต้องสนใจเรื่อง Buyer Persona? ก่อนอื่น มาลองคิดเล่น ๆ กันครับ สมมุติว่าคุณกำลังขายรถยนต์ หรือสมาร์ทโฟน โดยที่ลูกค้าคนหนึ่งเป็นคุณหมออายุ 40 ปี กับอีกคนเป็นวัยรุ่นอายุ 18 ปี คุณจะทำการตลาดแบบเดียวกันได้มั้ย?